กระท้อน


 
            เตียน ล่อน สะท้อน (ใต้) มะต้อง (เหนือ, อุดรฯ) มะตื๋น (เหนือ) สตียา สะตูเมา (กัญจนา ดีวิเศษ และคณะ, 2542, หน้า 17)
 
            ต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ใบ มีใบย่อยขนาดใหญ่ 3 ใบ ใบแก่สีแดง ดอก ดอกเล็ก ๆ สีเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อ ผล ทรงกลม สีเหลือง เปลือกหนา เมล็ด เมล็ดมีเนื้อสีขาวหุ้ม (กัญจนา ดีวิเศษ และคณะ, 2542, หน้า 17)
 
        
            ไม่มีข้อมูล ข้อมูลทางอาหาร กระท้อนชาวล้านนานำมาทำตำกระท้อน หรือนำมาใส่แกงฮังเล ใช้แทนน้ำมะขาม ทำให้มีรสเปรี้ยว
        
ใบ ขับเหงื่อ ต้มอาบแก้ไข้ รักษาโรคผิวหนัง
ราก แก้ท้องร่วง แก้บิดมูกเลือด ดับพิษร้อนถอนพิษไข้ (กัญจนา ดีวิเศษ และคณะ, 2542, หน้า 17)
 
 
 
            

อรุณี วิเศษสุข และคณะ, ผู้รวบรวม. (2542). ผักพื้นบ้านภาคใต้. บรรณาธิการ กัญจนา ดีวิเศษ. นนทบุรี: โครงการพัฒนาตำรา สถาบันการแพทย์แผนไทย มูลนิธิการแพทย์แผนไทยพัฒนา